วันจันทร์ที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2560

แคลเซียม


ไอโอดีน


แร่ออกไซต์


โพลี่คาร์บอเนต


แร่ธาตุธรรมชาติ


ข้อสอบ เรื่องวิตามินและเกลือแร่

ข้อสอบเรื่องวิตามินและเกลือแร่

ข้อที่ 1)
1. ข้อใดกล่าวถึงวิตามินได้ถูกต้อง
   ก. ทุกชนิดละลายได้ในน้ำ
   ข. ทุกชนิดละลายได้ในตัวทำละลายไขมัน
   ค. ทุกชนิดสามารถเปลี่ยนไปเป็นโคเอนไซม์ เพื่อทำหน้าที่ช่วยเอนไซม์เร่งปฏิกิริยาได้
   ง. ร่างกายสามารถเก็บไว้ได้หลายสัปดาห์ในตับ

ข้อที่ 2)
2. เกี่ยวกับเมแทบอลิซึมของทริปโตแฟน 
   ก. ไทอะมีน
   ข. ไนอะซิน
   ค. ไรโบฟลาวิน
   ง. ไพริดอกซีน

ข้อที่ 3)
3. ถ้าขาดจำทำให้เป็นโรคเหน็บชา 
   ก. ไทอะมีน
   ข. ไนอะซิน
   ค. ไรโบฟลาวิน
   ง. ไม่ข้อใดถูก

ข้อที่ 4)
4. ถ้าขาดจะทำให้เป็นโรคขาดวิตามิน (Pellagra) 
   ก. ไทอะมีน
   ข. ไนอะซิน
   ค. ไรโบฟลาวิน
   ง. ไพริดอกซีน

ข้อที่ 5)
5. ถ้าขาดจะทำให้ปฏิกิริยาทรานอะมิเนชัน และดีคาร์บอกซิเลชัน ถูกยับยั้ง 
   ก. ไทอะมีน
   ข. ไนอะซิน
   ค. ไรโบฟลาวิน
   ง. ไพริดอกซีน

ข้อที่ 6)
6. ถ้าขาดจะทำให้เกิดโรคลักปิดลักเปิด 
   ก. วิตามิน K
   ข. วิตามิน E
   ค. ข้อ ก. และ ข.
   ง. ไม่มีข้อใดถูก

ข้อที่ 7)
7. เป็นวิตามินที่ละลายได้ในน้ำ 
   ก. วิตามิน K
   ข. วิตามิน E
   ค. ข้อ ก. และ ข.
   ง. ไม่มีข้อใดถูก

ข้อที่ 8)
8. มีมากในพืชทั่วไป 
   ก. วิตามิน K
   ข. วิตามิน E
   ค. ข้อ ก. และ ข.
   ง. ไม่มีข้อใดถูก

ข้อที่ 9)
9. วิตามินบี 1 หรือไธอะมีน ทำหน้าที่ ทำหน้าที่เป็นโคเอนไซม์ที่สำคัญในการย่อยสลาย
   ก. โปรตีน
   ข. กรดอะมิโน
   ค. กรดนิวคลิอิค
   ง. คาร์โบไฮเดรต

ข้อที่ 10)
10. วิตามินซีช่วยเสริมความแข็งแรงให้แกเนื้อเยื่อโดยทำหน้าที่
   ก. ป้องกันออกซิเดชันของเซลล์
   ข. ป้องกันรีดักชันของเซลล์
   ค. ทำให้เยื่อหุ้มเซลล์แข็งแรง โดยป้องกันการแตกสลายเนื่องจากออกซิเดชัน
   ง. สร้างกรดอะมิโนซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของคอลลาเจนและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน

ที่มา/https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6005348717128830748#editor/target=post;postID=5425145872798334853

ข้อสอบ เรื่องการปักชำและปุ๋ย

แบบฝึกหัด
    การปลูกพืชตามฤดูกาล  การปักชำ และปุ๋ย
1.     การปลูกพืชตามฤดูกาลมีผลดีอย่างไร
         ก. พืชเจริญเติบได้ดี
         ข. ดูแลบำรุงรักษาง่าย
         ค. หลีกเลี่ยงแมลงและโรค
         ง. ผลผลิตจำหน่ายได้ราคาดี
2.  การเปลี่ยนดินในกระถางมีผลดีอย่างไร
        ก. ทำให้พืชเจริญงอกงามดีขึ้น
       ข. ทำให้การดูแลรักษาพืชง่ายขึ้น
       ค. ทำให้พืชชะงักการเจริญเติบโต
       ง. ทำให้พืชต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพดิน
3.       พืชผักชนิดใด  ไม่ควรปลูกในฤดูฝน
        ก. คะน้า                  ข. แตงกวา
        ค. มะเขือยาว          ง. มะเขือเทศ
 4.       พืชผักชนิดใดปลูกเจริญงอกงามได้ดีในฤดูร้อน
       ก. ฟักทอง                 ข. กระเทียม
       ค. กะหล่ำปลี             ง.  ถั่วฝักยาว
5.    วิธีเก็บผักที่ถูกต้อง  ควรปฏิบัติอย่างไร
       ก. เก็บผักที่แก่เต็มที่
      ข. เก็บผักในตอนกลางวัน
      ค. เก็บผักโดยใช้มีดคมๆ ตัด
      ง. เก็บผักโดยการวางซ้อนกันมากๆ
6.    ส่วนใดของพืชที่ไม่ใช้ในการขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ
       ก. กิ่ง                    ค.  ราก
       ข. ใบ                    ง.   ดอก
7.    พืชชนิดใดที่ขยายพันธุ์ด้วยการปักชำกิ่ง
      ก. สน                    ข. โพธิ์
      ค. ลำไย                 ง. กุหลาบ
8.    การปักชำกิ่งอวบน้ำ  ควรปฏิบัติอย่างไร
       ก. ปักให้ลึก 10 เชนติเมตร
      ข. ปักให้ตั้งฉากกับวัสดุปักชำ
      ค. ปักทำมุม 45 องศา กับวัสดุชำ
      ง. ปักให้เอียงเล็กน้อยลึกประมาณ 8 ซ.ม.
9.    การปักชำในที่มีอากาศเย็นจะมีผลอย่างไร
       ก. กิ่งจะไม่ออกราก
       ข. กิ่งจะออกรากได้ง่าย
       ค. กิ่งชำเจริญเติบโตเร็ว
      ง. การเติบโตของรากจะชะงัก
10.    การปักชำ  ควรปักชำในสภาพอากาศเช่นไรจึงจะทำให้การออกรากได้ผลดี
      ก. อากาศเย็น
      ข. อากาศร้อน
      ค. อากาศที่มีความชื้นสูง
      ง. อากาศที่มีความชื้นต่ำ
11.    ปุ๋ยหมักมีประโยชน์อย่างไร
      ก. ช่วยป้องกันศัตรูพืช
      ข. ช่วยป้องกันการงอกของวัชพืช
      ค. เพิ่มความเป็นกรดเป็นด่างของดิน
     ง. เปลี่ยนสภาพดินเหนียวให้เป็นดินร่วน
12.    ปุ๋ยพืชสดจัดเป็นปุ๋ยประเภทใด
      ก. ปุ๋ยเคมี
      ข. ปุ๋ยอินทรีย์
      ค. ปุ๋ยอนินทรีย์
      ง. ปุ๋ยวิทยาศาสตร์
13.    ธาตุอาหารหลักของพืช  คือข้อใด
       ก.  N     P     K
      ข.  Ca    Mg    S
      ค. C      H     O
      ง.  Fe    Zn     Cu   Mo    Mn    B    Cl
14.    วิธีที่จะทำให้กองปุ๋ยหมักสลายตัวได้เร็วขึ้นคือ
      ก. การใช้วัสดุคลุม
      ข. ใช้หลังคากันแดด
       ค. การกลับกองปุ๋ยหมัก
       ง. การใส่มูลสัตว์ต่างๆ
15.    ขั้นตอนของการกองปุ๋ยหมัก  ปฏิบัติอย่างไร
       ก. ใส่ปูนขาว  ใส่เศษพืช  โรยดินร่วน
       ข. ใส่ปุ๋ยเคมี  ใส่เศษพืช  โรยดินร่วน
       ค. ใส่เศษพืช  ใส่ปุ๋ยคอก โรยดินร่วนละเอียด
      ง. ใส่ปุ๋ยคอก  ใส่เศษพืช  โรยดินร่วนละเอียด
  
  เฉลย  1 = ก   2 = ก    3 = ง   4 = ก  5 = ค  6 = ง  7 = ง  8  = ข  9 = ง  10 = ค 11 = ง 12 = ข   
          13 = ก  14 = ค  15 = ค
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/204327

ที่มา/https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6005348717128830748#editor/target=post;postID=5017471897278298504

ข้อสอบ เรื่องธาตุและสารประกอบ

แบบฝึกหัดวิชาเคมี เรื่องธาตุและสารประกอบ

1.การถลุงแร่ในข้อใดที่มีหลักการในการถลุงเหมือนกัน
ก. สังกะสี
ข. แคดเมียม
ค. ดีบุก
ง. พลวง
1.ก. และ ข.
2.ข. และ ค.
3.ก. ข. และ ง.
4.ก. ค. และ ง.
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
หลักการในการถลุงแร่ดีบุก พลวงและสังกะสี เหมือนกันคือ












ส่วนแร่แคดเมียมเกิดปฏิกิริยาต่างจากแร่ทั้งสามข้างต้น




2.สมการที่เกี่ยวข้องกับการถลุงแร่พลวง มีดังนี้








พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. แร่พลวงในธรรมชาติ คือ ก่อนนำไปถลุงต้องเปลี่ยนให้เป็นออกไซด์ก่อน
เรียกกระบวนการนี้ว่า ย่างแร่ (สมการ 1)
ก. ออกไซด์ของพลวงถูก รีดิวซ์เป็นพลวง (สมการ 3)
ข. การเผาถ่านหินทุกครั้งจะได้ (สมการ 2)
ค. ถ้าแร่พลวงไม่บริสุทธิ์จะต้องใช้ มาดึงเอาสารปนเปื้อนออกมาเป็นตะกอน

ข้อใดถูกต้อง
1.ก. ข. และ ค.
2.ข. ค. และ ง.
3.ก. ข. และ ง.
4.ก. ค. และ ง.

เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
พิจารณาดังนี้
ข้อ ก. ถูก กระบวนการย่างแร่เป็นการทำให้สารประกอบซัลไฟต์อยู่ในรูปของสารประกอบออกไซด์ก่อนคือ











ข้อ ค. ผิด เพราะการเผาถ่านหิน ถ้ามี O2 มากพอจะเกิด CO2
ดังนี้



ข้อ ง. ถูก เพราะในการถลุงพลวงมีการเติม 


ลงไปด้วย เพื่อช่วย
กำจัดสารปนเปื้อนให้แยกออกมาเป็นกากตะกอน

3.อุตสาหกรรมในข้อใดไม่ได้ก่อให้เกิดมลพิษหรือผลกระทบตามที่ระบุ
1.อุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์มีการแพร่กระจายของดินเค็ม
2.อุตสาหกรรมการผลิตสังกะสีมีกากแร่ที่มีแคดเมียม
3.อุตสาหกรรมการผลิตแทนทาลัมจะเหลือกากที่เป็นสารกัมมันตรังสี
4.อุตสาหกรรมผลิตเซรามิกส์มีสารปรอทรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ

เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย

เพราะอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไม่ได้ใช้สารปรอท แต่มีสารประกอบตะกั่วเป็นส่วนผสมในน้ำยาเคลือบ ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะมลพิษได้
ข้อ 1. ถูกต้อง เพราะการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ ใช้สารละลาย NaCl เป็นวัตถุดิบ
ข้อ 2. ถูกต้อง เพราะในการถลุงสังกะสี สังกะสีที่ได้ไม่บริสุทธิ์ มักมีแคดเมียมปนอยู่ด้วย
ข้อ 3. ถูกต้อง เพราะอุตสาหกรรมผลิตแทนทาลัมเหลือกากที่เป็นสารกัมมันตรังสีปนอยู่ด้วย

4.ในการผลิตเกลือสินเธาว์ ข้อใดไม่ใช่ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
1.ไม่รู้ ไม่สนใจมีเกลือใช้ก็พอ
2.ต้องใช้ปริมาณน้ำจืดจำนวนมาก ทำให้ขาดแคลนน้ำจืด
3.เกลือสินเธาว์ขาดธาตุไอโอดีนทำให้ไม่เหมาะที่จะใช้บริโภค
4.เกิดยุบตัวของพื้นดินบริเวณที่มีการผลิตเกลือจากน้ำเกลือบาดาล และชั้นเกลือหิน
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย

เพราะการขาดธาตุไอโอดีน ไม่ถือว่าเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
ส่วนข้ออื่น ๆ จัดว่าเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น

5.การใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารดังกล่าวเป็นสารในข้อใด
1. เซอร์โคเนียมไดออกไซด์
2. สังกะสี
3. ตะกั่ว
4. แคดเมียม

เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย

เพราะการใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสอาจจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารนั้นคือตะกั่ว (Pb)

6.โลหะหนักมีอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมาก จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ที่เจ้าของโรงงานจำเป็นต้องกระทำเพื่อลดอันตรายจากโลหะหนัก
1. ทำให้โรงงานมีระบบการถ่ายเทอากาศที่ดี
2. มีการตรวจสุขภาพคนงานเป็นระยะ ๆ
3. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสมให้กับคนงาน
4. ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องยนต์

เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 2
คำอธิบาย

เพราะการตรวจสุขภาพคนงานเป็นระยะ ๆ นั้น จะต้องเป็นหน้าที่ของแพทย์ ไม่ใช่หน้าที่ของเจ้าของโรงงาน

7.น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดผลในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดไม่เอื้อต่อการยังชีพของสิ่งมีชีวิตในน้ำมากที่สุด
1. มีแบคทีเรียมาก
2. มีอุณหภูมิสูง
3. มีออกซิเจนสูง
4. มีโลหะหนัก

เฉลยคำตอบ ตัวเลือก 2
คำอธิบาย

เพราะออกซิเจนในน้ำมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการยังชีพของสิ่งมีชีวิต ถ้าน้ำขาดออกซิเจนหรือมีออกซิเจนอยู่ในปริมาณน้อยมาก สิ่งมีชีวิตอาจตายได้ ซึ่งการละลายของแก๊สออกซิเจนในน้ำจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ ดังนั้นถ้าน้ำมีอุณหภูมิสูงเกินไป สิ่งมีชีวิตในน้ำอาจตายได้ เนื่องจากออกซิเจนมีไม่เพียงพอ

8.ข้อใดอาจช่วยลดจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังได้
1. ลดปริมาณฟอตเฟสในผงซักฟอก
2. ลดปริมาณตะกั่วในน้ำมันเบนซิน
3. ลดจุดเดือดของน้ำมันดีเซล
4. ลดการใช้สารฟลูออโรคาร์บอนในการเป็นสารขับดันในกระป๋องสเปรย์

เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย

เพราะสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน หรือ CFC จะทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ เนื่องจากอะตอมของคลอรีนที่หลุดออกจากโมเลกุลของ CFC เพียง 1 อะตอม สามารถก่อปฏิกิริยาลูกโซ่ทำลายโอโซนได้ถึง 100,000 โมเลกุล เมื่อชั้นโอโซนในบรรยากาศถูกทำลายรังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทะลุผ่านมายังผิวโลกได้มากขึ้น จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทำให้มีผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังและต้อกระจกเพิ่มขึ้น
ดังนั้น การลดการใช้สารฟลูออโรคาร์บอน จะช่วยลดจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังได้

9.HF ซึ่งเป็นสารพิษ ใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ยชนิดใด
1. ปุ๋ยยูเรีย
2. ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
3. ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
4. ปุ๋ยโพแทส

เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย







10.ข้อใดไม่ใช่อุตสาหกรรมเซรามิกส์
1. อุตสาหกรรมเครื่องสุขภัณฑ์
2. อุตสาหกรรมซีเมนต์
3. อุตสาหกรรมแก้ว
4. ไม่มีข้อถูก

เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย

เพราะเซรามิกส์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากดิน โดยมีวัตถุดิบดังนี้
ดินขาว , ดินเหนียว , เฟลด์สปาร์ , ควอตซ์ , ทัลด์ , หินปูน ,
ดังนั้นทุกข้อล้วนเป็นอุตสาหกรรมเซรามิกส์ทั้งสิ้น

ที่มา/https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6005348717128830748#editor/target=post;postID=6742496694905963488

ข้อสอบ เรื่องคาร์บอเนต

แบบฝึกหัด

ตอนที่ 1 ให้ตอบคำถามข้างล่าง
1. จงบอกองค์ประกอบ หน้าที่ และคุณสมบัติทั่วไปของเลือดว่ามีอะไรบ้าง
2. เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างอย่างไร มีองค์ประกอบที่สำคัญคืออะไร และทำหน้าที่อย่างไร ?
3. เม็ดเลือดแดงสร้างจากที่ใดบ้าง มีอายุเท่าไร และถูกทำลายได้อย่างไร ?
4. เม็ดเลือดขาวมีกี่ชนิด อะไรบ้าง และแต่ละชนิดทำหน้าที่อย่างไรในร่างกาย ?
5. เกล็ดเลือดมีรูปร่างเป็นอย่างไรทำหน้าที่อะไรในร่างกาย ?
6. ให้อธิบายกระบวนการแข็งตัวของเลือดเมื่อเกิดบาดแผลในร่างกายโดยสรุป ?
7. องค์ประกอบของพลาสมามีอะไรบ้าง ? และพลาสมาแตกต่างจากซีรัมอย่างไร ?
8. ของเหลวชนิดอื่น ๆ ในร่างกายมีอะไรบ้าง ?















ตอนที่ 2ให้เลือกคำตอบที่ถูกที่สุด
1. ธาตุเหล็กในเม็ดเลือดแดงอยู่ในรูปใด ?
    ก. Ferric iron     ข. ferous iron     ค. Ferite iron     ง. alloy iron
2. เกล็ดเลือดมีหน้าที่หลัก คืออะไร
    ก. สร้างภูมิคุ้มโรค     ข. สร้างเม็ดเลือดแดง      ค. สร้างเม็ดเลือดขาว    ง. ช่วยการแข็งตัวของเลือด
3. ซีรัมไม่มีสารชนิดใดเมื่อเทียบกับพลาสมา
    ก. ภูมิคุ้มกัน    ข. เม็ดเลือดแดง    ค. เม็ดเลือดและปัจจัยการแข็งตัวของเลือดรวมทั้งไฟบริน ง. สารอินทรีย์
4. ข้อใดเป็นบัฟเฟอร์ของเลือด
    ก. กรดคาร์บอนิก     ข. ไบคาร์บอเนต      ค. เฮปาริน     ง. ไฟบริโนเจน
5. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่โดยตรงของเลือด
ก. นำออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ    ข. ควบคุมสมดุลย์ของน้ำในร่างกาย     ค. ช่วยต่อต้านเชื้อโรค    ง. ช่วยนำน้ำย่อยไปสู่ลำไส้
6. แอนตีบอดีชนิดใดพบมากที่สุดในร่างกายในกระบวนการต่อต้านสิ่งแปลกปลอม
      . ไอจีเอ  ข. ไอจีดี  ค. ไอจีอี  ง. ไอจีจี
7.ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ของเลือดประมาณเท่าใด
      ก. 3-4    ข. 4.5 - 6.5     ค. 7.3 - 7.5     ง. 8.6 - 9.8
8. ข้อใดเป็นบัฟเฟอร์ของเลือด
      ก. กรดคาร์บอนิก ข. ไบคาร์บอเนต ค. เฮปาริน ง. ไฟบริโนเจน
9.ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับขบวนการแข็งตัวขอเลือดเมื่อเกิดบาดแผล
       ก. ไฟบริโนเจน ข. โปรทรอมบิน ค. แคลเซียม    ง. เฮปาริน
10. ข้อใดกล่าวถูกต้อง
       ก. เลือดมีความถ่วงจำเพาะน้อยกว่าน้ำ   ข. เลือดมีความถ่วงจำเพาะเท่ากับน้ำ  ค. เลือดมีความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำเล็กน้อย ง. เลือดมีความถ่วงจำเพาะมากกว่าน้ำ 5 เท่า
11. การหาปริมาตรของเลือดในร่างกายวิธีใดง่ายที่สุด
       ก. dilution technique   ข. เจาะเลือดออกจากร่างกายสัตว์โดยตรง  ค. คำนวณโดยคิดจากเปอร์เซ็นต์น้ำหนักตัว  ง. ประเมินโดยใช้ปริมาณปัสสาวะ
12. การให้เลือดผิดกลุ่มหรือนำเลือดสัตว์คนละชนิดฉีดให้กันจะเกิดอะไร ?
       ก. การตกตะกอนของเลือด  ข. เลือดไม่รวมกัน   ค. เกิดภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้น ง. เลือดเปลี่ยนสี
13. หลอดที่ใช้หาอัตราการตกตะกอนของเลือดคืออะไร ?
ก. test tube    . hematocrit tube    ค. sedimentation tube    ง. pack cell tube
14. ขบวนการเกิดออกซีฮีโมโกลบิน เรียกว่าอะไร ?
. oxygenation ข. oxygenatation ค. oxygenatory process ง. oxygenatatory process
15. ธาตุเหล็กในเม็ดเลือดแดงอยู่ในรูปใด ?
ก. Ferric iron ข. ferous iron ค. Ferite iron ง. allory iron
16. เกล็ดเลือดมีหน้าที่หลัก คืออะไร
ก. สร้างภูมิคุ้มโรค   ข. สร้างเม็ดเลือดแดง    ค. สร้างเม็ดเลือดขาว    ง. ช่วยการแข็งตัวของเลือด
17. P.M.N. คือเม็ดเลือดขาวชนิดใด
. Neutrophil ข. Basophil ค. lymphocyte ง. Monocyte
18. ข้อใดหมายถึง adidophil
ก. Neutrophil     . eosinophil    ค. Monocyte    ง. lymphocyte
19. เม็ดเลือดชนิดใดเกี่ยวข้องกับการเกิดการแพ้ของร่างกาย
ก. Neutrophi . eosinophil ค. Basophil ง. lymphocyte
20. ข้อใดคือเซลล์ที่เจริญไปเป็น Macrophge ได้
ก. Monocyte    . lymphocyte    ค. Basophil    ง. acidophil
21. องค์ประกอบที่มากที่สุดของพลาสมาคืออะไร
ก. โปรตีน    . น้ำ      ค. ไขมัน     ง. สารอนินทรีย์
22. ซีรัมไม่มีสารชนิดใดเมื่อเทียบกับพลาสมา
ก. ภูมิคุ้มกัน   ข. เม็ดเลือดแดง   . เม็ดเลือดและปัจจัยการแข็งตัวของเลือดรวมทั้งไฟบริน    ง. สารอินทรีย์
23. ของเหลวส่วนเกินในเนื้อเยื่อเรียกว่าอะไร
ก. พลาสมา    ข. endolymph    ค. perilymph    ง. น้ำเหลือง (lymph)

ที่มา/https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6005348717128830748#editor/target=post;postID=4978695845140198597;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=1;src=link

ข้อสอบ เรื่องหินและแร่

แบบทดสอบหลังเรียน    เรื่อง  หินและแร่


1.ข้อใดกล่าวถูกต้อง
 ก. หินเกิดจากการทับถมกันของซากพืชซากสัตว์
 ข. หินเกิดจากการรวมตัวกันของแร่ชนิดเดียวกัน  หรือหลายชนิด
 ค. หินเกิดจากการรวมตัวกันของกรวดและทราย
 ง. ถูกทุกข้อ

2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับกระบวนการทางธรณีวิทยาที่ทำให้เกิดวัฏจักรของหิน
 ก. การหลอมละลาย  การผุพัง
 ข. การผุพัง  การแปรสภาพ
 ค. การหลอมเหลว  การกัดเซาะและการผุพัง
 ง. การหลอมเหลว  การผุพังและการกัดเซาะ  การแปรสภาพ

3. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ  “ แร่”
 ก .ธาตุหรือสารประกอบอินทรีย์
 ข. ธาตุหรือสารประกอบอนินทรีย์
 ค.มีสถานะเป็นของแข็ง  มีโครงสร้างเป็นผลึก
 ง. ถูกทั้งข้อ ข. และ ค.

4. ข้อใดไม่ใช่ชนิดของหินอัคนี
 ก. หินแกรนิต
 ข. หินดินดาน
 ค. หินบะซอลล์
 ง. หินพัมมิซ

5. “ หินอ่อน ”   เป็นหินที่แปรสภาพมาจากหินชนิดใด
 ก. หินปูน
 ข. หินดินดาน
 ค. หินแกรนิต
 ง. หินทราย

6. ภาคใดที่มีการทำเหมืองแร่มากที่สุดในประเทศไทย
 ก. ภาคเหนือ
 ข. ภาคใต้
 ค. ภาคตะวันออก
 ง. ภาคตะวันตก

7. หินชนิดใดที่นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง ในการผลิตกระแสไฟฟ้า
 ก . หินแกรนิต
 ข. หินอ่อนและหินปูน
 ค. ถ่านหิน
 ง. หินอัคนี

8. แร่ชนิดใดที่นำมาหลอมเป็นอะลูมิเนียม
 ก. แร่บอกไซต์
 ข. แร่ดีบุก
 ค. แร่ตะกั่ว
 ง. แร่สังกะสี

9. การทำเหมืองแร่ส่งผลกระทบถึงด้านใด
 ก. ทางอากาศและเสียง
 ข. ทางน้ำ
 ค. ทางทัศนียภาพ
 ง. ถูกทุกข้อ

10. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการอนุรักษ์หินและแร่
 ก.การใช้หินและแร่ธาตุอย่างประหยัด
 ข. การใช้แร่ชนิดอื่นทดแทน
 ค. การนำแร่ที่ใช้แล้วกลับมาใช้อีก
 ง. ไม่มีข้อใดถูก

คะแนนที่คุณทำได้=  คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน
เฉลยคำตอบ :


ที่มา/*https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6005348717128830748#editor/target=post;postID=9012226053537727802;onPublishedMenu=allposts;onClosedMenu=allposts;postNum=2;src=link