แคลเซียมคาร์บอเนต
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แคลเซียมคาร์บอเนต | |
---|---|
ชื่อตาม IUPAC | Calcium carbonate |
ชื่ออื่น | Limestone; calcite; aragonite; chalk; marble |
ตัวระบุ | |
เลขทะเบียน CAS | [471-34-1][CAS] |
RTECS number | FF9335000 |
ChemSpider ID | |
คุณสมบัติ | |
สูตรเคมี | CaCO3 |
มวลต่อหนึ่งโมล | 100.09 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | Fine white powder. |
ความหนาแน่น | 2.71 g/cm3 (calcite) 2.83 g/cm3 (aragonite) |
จุดหลอมเหลว |
825 °C (calcite)
1339 °C (aragonite) |
จุดเดือด |
decomposes
|
ความสามารถละลายได้ ใน น้ำ | .00015 mol/L (25 °C) |
Solubility product, Ksp | 4.8 x 10-9 [1] |
ความสามารถละลายได้ ใน dilute acids | soluble |
ความอันตราย | |
MSDS | ICSC 1193 |
EU Index | Not listed |
NFPA 704 | |
จุดวาบไฟ | Non-flammable |
สารอื่นที่เกี่ยวข้อง | |
แอนไอออนที่เกี่ยวข้อง | Calcium bicarbonate |
แคทไอออนที่เกี่ยวข้อง | Magnesium carbonate Strontium carbonate Barium carbonate |
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง | Calcium sulfate |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa | |
แหล่งอ้างอิงของกล่องข้อมูล |
แคลเซียมคาร์บอเนต (อังกฤษ: Calcium carbonate) เป็นสารประกอบมีสูตรเคมีคือ CaCO3 แคลเซียมคาร์บอเนต ไม่ละลายในน้ำ แต่สามารถทำปฏิกิริยากับน้ำและ คาร์บอนไดออกไซด์แล้วกลายเป็นแคลเซียมไบคาร์บอเนต (ซึ่งมีสูตรเคมีคือ Ca (HCO3) 2) แคลเซียมไบคาร์บอเนตละลายในน้ำได้เล็กน้อย
ในธรรมชาติพบในรูปดังนี้:
- อะราโกไนต์ (Aragonite)
- แคลไซต์ (Calcite)
- ปูนขาว (Chalk)
- หินปูน (Limestone)
- หินอ่อน (Marble)
- ทราเวอร์ตีน (Travertine)
เมื่ออยู่ในกระเพาะจะเกิดปฏิกิริยาดังนี้
ยาลดกรดมีดังนี้:
- อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์ (Aluminium hydroxide) (Amphojel®, AlternaGEL®)
- แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ (Magnesium hydroxide) (Phillips’® Milk of Magnesia)
- อะลูมิเนียมคาร์บอเนต (Aluminium carbonate) gel (Basajel®)
- แคลเซียมคาร์บอเนต (Calcium carbonate) (Tums®, Titralac®, Calcium Rich Rolaids®)
- โซเดียมไบคาร์บอเนต (Sodium bicarbonate) (Bicarbonate of soda)
- ไฮโดรทัลไซต์ (Hydrotalcite) (Mg6Al2 (CO3) (OH) 16 · 4 (H2O) ; Talcid®)
- อะลูมิเนียมไฮดรอกไซด์และ แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์(Maalox®, Mylanta®)
อ้างอิง
- ↑ Pradyot Patnaik. Handbook of Inorganic Chemicals. McGraw-Hill, 2002, ISBN 0-07-049439-8
ที่มา/https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6005348717128830748#editor/target=post;postID=5762884171201533963
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น