ข้อสอบ เรื่องธาตุและสารประกอบ
แบบฝึกหัดวิชาเคมี เรื่องธาตุและสารประกอบ
1.การถลุงแร่ในข้อใดที่มีหลักการในการถลุงเหมือนกัน
ก. สังกะสี
ข. แคดเมียม
ค. ดีบุก
ง. พลวง
1.ก. และ ข.
2.ข. และ ค.
3.ก. ข. และ ง.
4.ก. ค. และ ง.
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
หลักการในการถลุงแร่ดีบุก พลวงและสังกะสี เหมือนกันคือ
ส่วนแร่แคดเมียมเกิดปฏิกิริยาต่างจากแร่ทั้งสามข้างต้น
2.สมการที่เกี่ยวข้องกับการถลุงแร่พลวง มีดังนี้
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. แร่พลวงในธรรมชาติ คือ ก่อนนำไปถลุงต้องเปลี่ยนให้เป็นออกไซด์ก่อน
เรียกกระบวนการนี้ว่า ย่างแร่ (สมการ 1)
ก. ออกไซด์ของพลวงถูก รีดิวซ์เป็นพลวง (สมการ 3)
ข. การเผาถ่านหินทุกครั้งจะได้ (สมการ 2)
ค. ถ้าแร่พลวงไม่บริสุทธิ์จะต้องใช้ มาดึงเอาสารปนเปื้อนออกมาเป็นตะกอน
ข้อใดถูกต้อง
1.ก. ข. และ ค.
2.ข. ค. และ ง.
3.ก. ข. และ ง.
4.ก. ค. และ ง.
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
พิจารณาดังนี้
ข้อ ก. ถูก กระบวนการย่างแร่เป็นการทำให้สารประกอบซัลไฟต์อยู่ในรูปของสารประกอบออกไซด์ก่อนคือ
ข้อ ค. ผิด เพราะการเผาถ่านหิน ถ้ามี O2 มากพอจะเกิด CO2
ดังนี้
ข้อ ง. ถูก เพราะในการถลุงพลวงมีการเติม
ลงไปด้วย เพื่อช่วย
กำจัดสารปนเปื้อนให้แยกออกมาเป็นกากตะกอน
3.อุตสาหกรรมในข้อใดไม่ได้ก่อให้เกิดมลพิษหรือผลกระทบตามที่ระบุ
1.อุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์มีการแพร่กระจายของดินเค็ม
2.อุตสาหกรรมการผลิตสังกะสีมีกากแร่ที่มีแคดเมียม
3.อุตสาหกรรมการผลิตแทนทาลัมจะเหลือกากที่เป็นสารกัมมันตรังสี
4.อุตสาหกรรมผลิตเซรามิกส์มีสารปรอทรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย
เพราะอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไม่ได้ใช้สารปรอท แต่มีสารประกอบตะกั่วเป็นส่วนผสมในน้ำยาเคลือบ ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะมลพิษได้
ข้อ 1. ถูกต้อง เพราะการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ ใช้สารละลาย NaCl เป็นวัตถุดิบ
ข้อ 2. ถูกต้อง เพราะในการถลุงสังกะสี สังกะสีที่ได้ไม่บริสุทธิ์ มักมีแคดเมียมปนอยู่ด้วย
ข้อ 3. ถูกต้อง เพราะอุตสาหกรรมผลิตแทนทาลัมเหลือกากที่เป็นสารกัมมันตรังสีปนอยู่ด้วย
4.ในการผลิตเกลือสินเธาว์ ข้อใดไม่ใช่ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
1.ไม่รู้ ไม่สนใจมีเกลือใช้ก็พอ
2.ต้องใช้ปริมาณน้ำจืดจำนวนมาก ทำให้ขาดแคลนน้ำจืด
3.เกลือสินเธาว์ขาดธาตุไอโอดีนทำให้ไม่เหมาะที่จะใช้บริโภค
4.เกิดยุบตัวของพื้นดินบริเวณที่มีการผลิตเกลือจากน้ำเกลือบาดาล และชั้นเกลือหิน
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย
เพราะการขาดธาตุไอโอดีน ไม่ถือว่าเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
ส่วนข้ออื่น ๆ จัดว่าเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น
5.การใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารดังกล่าวเป็นสารในข้อใด
1. เซอร์โคเนียมไดออกไซด์
2. สังกะสี
3. ตะกั่ว
4. แคดเมียม
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย
เพราะการใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสอาจจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารนั้นคือตะกั่ว (Pb)
6.โลหะหนักมีอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมาก จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ที่เจ้าของโรงงานจำเป็นต้องกระทำเพื่อลดอันตรายจากโลหะหนัก
1. ทำให้โรงงานมีระบบการถ่ายเทอากาศที่ดี
2. มีการตรวจสุขภาพคนงานเป็นระยะ ๆ
3. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสมให้กับคนงาน
4. ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องยนต์
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 2
คำอธิบาย
เพราะการตรวจสุขภาพคนงานเป็นระยะ ๆ นั้น จะต้องเป็นหน้าที่ของแพทย์ ไม่ใช่หน้าที่ของเจ้าของโรงงาน
7.น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดผลในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดไม่เอื้อต่อการยังชีพของสิ่งมีชีวิตในน้ำมากที่สุด
1. มีแบคทีเรียมาก
2. มีอุณหภูมิสูง
3. มีออกซิเจนสูง
4. มีโลหะหนัก
เฉลยคำตอบ ตัวเลือก 2
คำอธิบาย
เพราะออกซิเจนในน้ำมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการยังชีพของสิ่งมีชีวิต ถ้าน้ำขาดออกซิเจนหรือมีออกซิเจนอยู่ในปริมาณน้อยมาก สิ่งมีชีวิตอาจตายได้ ซึ่งการละลายของแก๊สออกซิเจนในน้ำจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ ดังนั้นถ้าน้ำมีอุณหภูมิสูงเกินไป สิ่งมีชีวิตในน้ำอาจตายได้ เนื่องจากออกซิเจนมีไม่เพียงพอ
8.ข้อใดอาจช่วยลดจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังได้
1. ลดปริมาณฟอตเฟสในผงซักฟอก
2. ลดปริมาณตะกั่วในน้ำมันเบนซิน
3. ลดจุดเดือดของน้ำมันดีเซล
4. ลดการใช้สารฟลูออโรคาร์บอนในการเป็นสารขับดันในกระป๋องสเปรย์
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย
เพราะสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน หรือ CFC จะทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ เนื่องจากอะตอมของคลอรีนที่หลุดออกจากโมเลกุลของ CFC เพียง 1 อะตอม สามารถก่อปฏิกิริยาลูกโซ่ทำลายโอโซนได้ถึง 100,000 โมเลกุล เมื่อชั้นโอโซนในบรรยากาศถูกทำลายรังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทะลุผ่านมายังผิวโลกได้มากขึ้น จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทำให้มีผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังและต้อกระจกเพิ่มขึ้น
ดังนั้น การลดการใช้สารฟลูออโรคาร์บอน จะช่วยลดจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังได้
9.HF ซึ่งเป็นสารพิษ ใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ยชนิดใด
1. ปุ๋ยยูเรีย
2. ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
3. ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
4. ปุ๋ยโพแทส
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย
10.ข้อใดไม่ใช่อุตสาหกรรมเซรามิกส์
1. อุตสาหกรรมเครื่องสุขภัณฑ์
2. อุตสาหกรรมซีเมนต์
3. อุตสาหกรรมแก้ว
4. ไม่มีข้อถูก
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย
เพราะเซรามิกส์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากดิน โดยมีวัตถุดิบดังนี้
ดินขาว , ดินเหนียว , เฟลด์สปาร์ , ควอตซ์ , ทัลด์ , หินปูน ,
ดังนั้นทุกข้อล้วนเป็นอุตสาหกรรมเซรามิกส์ทั้งสิ้น
ก. สังกะสี
ข. แคดเมียม
ค. ดีบุก
ง. พลวง
1.ก. และ ข.
2.ข. และ ค.
3.ก. ข. และ ง.
4.ก. ค. และ ง.
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
หลักการในการถลุงแร่ดีบุก พลวงและสังกะสี เหมือนกันคือ
ส่วนแร่แคดเมียมเกิดปฏิกิริยาต่างจากแร่ทั้งสามข้างต้น
2.สมการที่เกี่ยวข้องกับการถลุงแร่พลวง มีดังนี้
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. แร่พลวงในธรรมชาติ คือ ก่อนนำไปถลุงต้องเปลี่ยนให้เป็นออกไซด์ก่อน
เรียกกระบวนการนี้ว่า ย่างแร่ (สมการ 1)
ก. ออกไซด์ของพลวงถูก รีดิวซ์เป็นพลวง (สมการ 3)
ข. การเผาถ่านหินทุกครั้งจะได้ (สมการ 2)
ค. ถ้าแร่พลวงไม่บริสุทธิ์จะต้องใช้ มาดึงเอาสารปนเปื้อนออกมาเป็นตะกอน
ข้อใดถูกต้อง
1.ก. ข. และ ค.
2.ข. ค. และ ง.
3.ก. ข. และ ง.
4.ก. ค. และ ง.
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
พิจารณาดังนี้
ข้อ ก. ถูก กระบวนการย่างแร่เป็นการทำให้สารประกอบซัลไฟต์อยู่ในรูปของสารประกอบออกไซด์ก่อนคือ
ข้อ ค. ผิด เพราะการเผาถ่านหิน ถ้ามี O2 มากพอจะเกิด CO2
ดังนี้
ข้อ ง. ถูก เพราะในการถลุงพลวงมีการเติม
ลงไปด้วย เพื่อช่วย
กำจัดสารปนเปื้อนให้แยกออกมาเป็นกากตะกอน
3.อุตสาหกรรมในข้อใดไม่ได้ก่อให้เกิดมลพิษหรือผลกระทบตามที่ระบุ
1.อุตสาหกรรมการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์มีการแพร่กระจายของดินเค็ม
2.อุตสาหกรรมการผลิตสังกะสีมีกากแร่ที่มีแคดเมียม
3.อุตสาหกรรมการผลิตแทนทาลัมจะเหลือกากที่เป็นสารกัมมันตรังสี
4.อุตสาหกรรมผลิตเซรามิกส์มีสารปรอทรั่วไหลลงสู่แหล่งน้ำ
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย
เพราะอุตสาหกรรมเซรามิกส์ไม่ได้ใช้สารปรอท แต่มีสารประกอบตะกั่วเป็นส่วนผสมในน้ำยาเคลือบ ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะมลพิษได้
ข้อ 1. ถูกต้อง เพราะการผลิตโซเดียมไฮดรอกไซด์ ใช้สารละลาย NaCl เป็นวัตถุดิบ
ข้อ 2. ถูกต้อง เพราะในการถลุงสังกะสี สังกะสีที่ได้ไม่บริสุทธิ์ มักมีแคดเมียมปนอยู่ด้วย
ข้อ 3. ถูกต้อง เพราะอุตสาหกรรมผลิตแทนทาลัมเหลือกากที่เป็นสารกัมมันตรังสีปนอยู่ด้วย
4.ในการผลิตเกลือสินเธาว์ ข้อใดไม่ใช่ปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
1.ไม่รู้ ไม่สนใจมีเกลือใช้ก็พอ
2.ต้องใช้ปริมาณน้ำจืดจำนวนมาก ทำให้ขาดแคลนน้ำจืด
3.เกลือสินเธาว์ขาดธาตุไอโอดีนทำให้ไม่เหมาะที่จะใช้บริโภค
4.เกิดยุบตัวของพื้นดินบริเวณที่มีการผลิตเกลือจากน้ำเกลือบาดาล และชั้นเกลือหิน
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย
เพราะการขาดธาตุไอโอดีน ไม่ถือว่าเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อม
ส่วนข้ออื่น ๆ จัดว่าเป็นปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมทั้งสิ้น
5.การใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารดังกล่าวเป็นสารในข้อใด
1. เซอร์โคเนียมไดออกไซด์
2. สังกะสี
3. ตะกั่ว
4. แคดเมียม
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย
เพราะการใช้ภาชนะเซรามิกส์ใส่อาหารที่เป็นกรดหรือเบส กรดและเบสอาจจะละลายสารที่เคลือบติดปนมากับอาหารได้ สารนั้นคือตะกั่ว (Pb)
6.โลหะหนักมีอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตมาก จึงต้องใช้อย่างระมัดระวัง ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ที่เจ้าของโรงงานจำเป็นต้องกระทำเพื่อลดอันตรายจากโลหะหนัก
1. ทำให้โรงงานมีระบบการถ่ายเทอากาศที่ดี
2. มีการตรวจสุขภาพคนงานเป็นระยะ ๆ
3. จัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสมให้กับคนงาน
4. ปรับปรุงประสิทธิภาพของเครื่องยนต์
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 2
คำอธิบาย
เพราะการตรวจสุขภาพคนงานเป็นระยะ ๆ นั้น จะต้องเป็นหน้าที่ของแพทย์ ไม่ใช่หน้าที่ของเจ้าของโรงงาน
7.น้ำทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ก่อให้เกิดผลในข้อใดต่อไปนี้ ข้อใดไม่เอื้อต่อการยังชีพของสิ่งมีชีวิตในน้ำมากที่สุด
1. มีแบคทีเรียมาก
2. มีอุณหภูมิสูง
3. มีออกซิเจนสูง
4. มีโลหะหนัก
เฉลยคำตอบ ตัวเลือก 2
คำอธิบาย
เพราะออกซิเจนในน้ำมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งต่อการยังชีพของสิ่งมีชีวิต ถ้าน้ำขาดออกซิเจนหรือมีออกซิเจนอยู่ในปริมาณน้อยมาก สิ่งมีชีวิตอาจตายได้ ซึ่งการละลายของแก๊สออกซิเจนในน้ำจะแปรผกผันกับอุณหภูมิ ดังนั้นถ้าน้ำมีอุณหภูมิสูงเกินไป สิ่งมีชีวิตในน้ำอาจตายได้ เนื่องจากออกซิเจนมีไม่เพียงพอ
8.ข้อใดอาจช่วยลดจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังได้
1. ลดปริมาณฟอตเฟสในผงซักฟอก
2. ลดปริมาณตะกั่วในน้ำมันเบนซิน
3. ลดจุดเดือดของน้ำมันดีเซล
4. ลดการใช้สารฟลูออโรคาร์บอนในการเป็นสารขับดันในกระป๋องสเปรย์
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย
เพราะสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน หรือ CFC จะทำลายชั้นโอโซนในบรรยากาศ เนื่องจากอะตอมของคลอรีนที่หลุดออกจากโมเลกุลของ CFC เพียง 1 อะตอม สามารถก่อปฏิกิริยาลูกโซ่ทำลายโอโซนได้ถึง 100,000 โมเลกุล เมื่อชั้นโอโซนในบรรยากาศถูกทำลายรังสีอัลตราไวโอเลต สามารถทะลุผ่านมายังผิวโลกได้มากขึ้น จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ทำให้มีผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังและต้อกระจกเพิ่มขึ้น
ดังนั้น การลดการใช้สารฟลูออโรคาร์บอน จะช่วยลดจำนวนผู้ป่วยโรคมะเร็งผิวหนังได้
9.HF ซึ่งเป็นสารพิษ ใช้ในกระบวนการผลิตปุ๋ยชนิดใด
1. ปุ๋ยยูเรีย
2. ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
3. ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
4. ปุ๋ยโพแทส
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 3
คำอธิบาย
10.ข้อใดไม่ใช่อุตสาหกรรมเซรามิกส์
1. อุตสาหกรรมเครื่องสุขภัณฑ์
2. อุตสาหกรรมซีเมนต์
3. อุตสาหกรรมแก้ว
4. ไม่มีข้อถูก
เฉลยคำตอบ ตัวเลือกที่ 4
คำอธิบาย
เพราะเซรามิกส์ หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ทำมาจากดิน โดยมีวัตถุดิบดังนี้
ดินขาว , ดินเหนียว , เฟลด์สปาร์ , ควอตซ์ , ทัลด์ , หินปูน ,
ดังนั้นทุกข้อล้วนเป็นอุตสาหกรรมเซรามิกส์ทั้งสิ้น
ที่มา/https://www.blogger.com/blogger.g?blogID=6005348717128830748#editor/target=post;postID=6742496694905963488
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น